วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่ 6

กิจกรรมที่  6  การนำความรู้วิธีการสร้างบล็อกไปใช้ในการเรียนการสอนและการบริหาร
        จากการได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทคกับท่าอาจารย์ ดร.อภิชาติ   วัชรพันธุ์     ในการสร้างบล็อกเป็นของตัวเองนั้นทำให้การนำความรู้ทักษะไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารที่มีความเหมาะสมมากในยุคปัจจุบันไดเป็นอย่างดีมาก  เพราะ
   ข้อดี  :  ของการจัดทำบล็อกแล้วนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
               1.  เป็นนวัตกรรมในการจัดเก็บข้อมูลได้มากมายด้วยความหลากหลายในรูปแบบ  เช่น  แหล่งความรู้   แหล่งข้อมูลสารสนเทศ  เอกสารต่าง ๆ  การจัดเก็บแฟ้มภาพ  วีดีโอ  เสียง   สไลด์  และปรับปรุงเพิ่มเติมรูปแบบได้สะดวก
               2. ไม่สิ้นเปลืองวัสดุกระดาษ  สี 
               3.  นำไปใช้ได้สะดวกทุกสถานที่ที่สามารถเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตได้
               4.  จัดเก็บข้อมูลไว้ได้มาก และคงทน
   ข้อเสีย :  ถ้าหากพิจารณาให้รอบคอบข้อเสียของการจัดทำบล็อกให้เกิดประโยชน์มีข้อเสียข้อมากในยุคปัจจุบัน ถ้าจะพอมีบ้าง เช่น  เมื่อกำลังใช้งานและระบบไฟฟ้าขัดข้อง   หรือระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าไม่ถึง  หรือเครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหา
          จากการได้เข้ามาศึกษาในวิชานี้จะมีความสุขมากเมื่อมีความเข้าใจในขั้นตอนการสร้างบล็อกและเมื่อทำได้เอง  มีความทุกข์บางเมื่อทำไม่ทันเพื่อนหรือเวลาอาจารย์อธิบายเร็วทำไม่ทัน และทำกิจกรรมส่งไม่ครบครับท่าน 
                                   *** กระผมขอขอบพระคุณท่านอาจารย์มากครับ ***

กิจกรรมที่ 5

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมนี้เป็นทัศนศึกษานอกสถานที่ ไปศึกษาดูงานประเทศสิงคโปร์ ให้นักศึกษาดำเนินการดังนี้
1. เล่าถึงวิธีการไปศึกษาดูงานมีขั้นตอนในการไปศึกษาดูงานอย่างไร

3. ให้นักศึกษานำเสนอรูปถ่ายหรือวีดีโอลงในบล็อกนักศึกษา
     จากการไปทัศนศึกษา ศึกษาดูงาน ณ ประเทศมาเลเซีย แลประเทศสิงคโปร์ที่ผ่านมาเมื่อ 24-28 มกราคม 2554 นั้น ขอเล่าเรื่องราวพอสังเขป
     ขั้นตอน  1.  คณะกรรมการนักศึกษาในห้องเรียนร่วมกับประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษาได้จัดทำโครงการพัฒนานักศึกษา กิจกรรมศึกษาดูงานด้านการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อขออนุมัติใช้เงินงบประมาณทางราชการ และงบสมทบจากนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติให้ดำเนินการได้ ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินการได้มอบหมายหน้าที่ในการประสานงานกับส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ติดต่อรถยนต์พาหนะรับ-ส่ง  ได้ หจก.ศิรินครทัวร์  ติดต่อสถานที่โรงเรียนที่ไปศึกษาดูงาน และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ กำหนดโปรแกรมทัศนศึกษาดูงานให้เหมาะสมกับเวลา แล้วแจ้งให้สมาชิกทราบก่อนออกเดินทาง
2. เล่าบรรยากาศสิ่งที่ได้ สิ่งที่พบปะและเห็นนำมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนหรือการบริหาร
   จากการได้ศึกษาดูงานการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียน Sekotah Kebangsaan Kodiad  สภาพบรรยากาศในโรงเรียนบรรยากาศเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ การบริหารจัดสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก บริเวณรอบโรงเรียนสะอาดดี ทุกห้องเรียนได้จัดเตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณการเรียนการสอนไว้พร้อม จากการศึกษาครั้งนี้ได้นำความรู้ประสบการมาประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอน และการบริหารไดทุกรายการ  แต่ระบบการบริหารจัดการก็ดีแต่มีอุปสรรคอยู่ที่ความร่วมมืออย่างจริงจังจากทุกภาคส่วน
    ความประทับใจเส่าสู่กันฟัง :  ประเทศมาเลเซีย บรรยากาศทางภูมิประเทศ และภูมิทัศน์ของประเทศที่เขียวไปด้วยต้นไม้นานาพันธ์ เยี่ยมไปด้ววยความสะอาด 2 ฝั่งเส้นทางที่ผ่าน ในตัวเมืองการวางแผนการจราจร และการควบคุมมลพิษทางเสียง ควันรถไม่มีปัญหา ที่อยู่อาศัยของประชาชนจัดอยู่อย่างเป็นสัดส่วนไม่เหมือนเมืองไทยเรา ประชาชนมีระเบียบวินัยในต้นเองสูง  อีกจุดหนึ่งคือการเดินทางด้วยกระเช้าไฟฟ้าสู่ยอดเขาเก็นติ้ง เป็นประสบการณ์ที่ร้าวใจตื่นเต้นมากถือว่าได้นักนัตกรรมทางเทคโลโยลี่ที่ใหม่และมีความปลอดภัยเข้ามาใช้ ผู้สร้างเมื่องนี้ถือว่าเป็นมีความคิดที่ยิ่งใหม่ และถือว่าเก็นติ้งเป็นเมืองมหานครแห่งความบันเทิงบนภูเขาสูงแห่งหนึ่งของโลกก็ว่าได้ครับ
            ประเทศสิงคโปร์  : ถือว่าเป็นเมือไอเทคก็ว่าได้ สภาพทั่ว ๆ ไปล้อมรอบด้วยทะเทศ แต่การสร้างสรรค์สิงแปลกใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติของเขได้ ที่ประทับใจ งานสถาปัตยกรรมในรูปแบบต่างๆที่สร้างสรรค์อย่างสวยงาม ประชาชนมีวินัยในตนเอง รวดเร็ว  บ้านเมืองสะอาดดีมากครับ พอมาดูพี่ไทยเรายังอีกมาน
           เวลาประมาณ  02 .00 น. เดินทางมาสู่เป้าหมายทุกคนโดยสวัสดิภาพ     
3. ให้นักศึกษานำเสนอรูปถ่ายหรือวีดีโอลงในบล็อกนักศึกษา

24 มกราคม 2554  ดูงานที่โรงเรียนSekotah Kebangsaan Kodiad 

                                                              ห้องเรียนวิทยาศาสตร์

                                                      ฟังการบรรยายจากคณะผู้บริหารโรงเรียน

                                                      ถ่ายรูปร่วมกับคณะครู-ผู้บริหารและนักศึกษา

                                                       25 มกราคม 2554  เช้าชายทะเลเมืองปีนัง

                                                            ในเมืองปีนัง

                                                             ณ  หน้าพระราชวังของประเทศมาเลเซีย
                                                                          

                                                         อนุสาวรีย์ทหารอาสา ฯ

                                 นั่งกระเช้าไฟฟ้าสู่เมืองมหานครแห่งความบันเทิงบนยอดเขาสูง (เก็นติ้ง)




วันอังคารที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2553

กิจกรรมที่ 1 ประวัติส่วนตัว

ชื่อ   >  นายเมธา   สามัคคี
วดป. >  ๑๖ พฤษภาคม  ๒๕๐๘
การศึกษา   >  ป. โรงเรียนบ้านสันยูง
                   >  ม. ต้น  โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์
                  >   ม. ปลาย  โรงเรียนอำมาตย์พิทยานุสรณ์
                  >   อ.ศศ.  วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช
                  >   ค.บ.  สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช
                  >   ผกท. รุ่นที่ ๓ (ศฝ.นศท.มทบ.๔๑ ) หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง
สถานที่ทำงาน  :  โรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช (สพม.๑๒)
ตำแหน่ง / หน้าที่   :   ครูชำนาญการ  (ระดับ ๗ )   หัวหน้างานพัสดุโรงเรียน
                              :   ผกท. โรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
                              :   ปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระศิลปะ  ( ทัศนศิลป์ )
สถานที่อยู่ปัจจุบัน  :  164  หม่บ้านเมืองทอง  ต.ในเมือง  อ.เมือง  จังหวัดนครศรีธรรมราช
โทรศัพท์          :   086-2677257   ,  075-432197
Email       ;    mata0862677257@hotmail.com
คติประจำตัว :  ความรู้  คุณธรรม  นำชีวิต

ดำรงชีพ : ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553

กิจกรรมที่ 4 บริบทของโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์

โรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์ เป็นโรงเรียนประจำอำเภอจุฬาภรณ์ เดิมชื่อโรงเรียนสามตำบลวิทยาประชาสรรค์  และได้รับพระราชทานชื่อใหม่จากสมเด็จพระลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เมื่อ พ.ศ.2551
มัธยมศึกษาจุฬาภรณ์จุดเด่น   >  ชุดเครื่องแบบนักเรียนสวย /
จุดด้อย  >  การบริหารงานของทุกฝ่าย
บุคลากร  >  จำนวน  45  คน
นักเรียน   >   จำนวน  700  คน
ปัจจุบันการบริหารจัดการงานวิชาการไม่เป็นเอกภาพต้องพัฒนา   คือ  กำหนดโครงสร้างการบริหารงานวิชาการใหม่  สรรหาบุคลากรปฏิบัติงาน  กำหนดแนวปฏบัติให้ชัดเจน  กำหนดปฎิทินงานชัดเจน ส่งเสริมบุคลากรให้ได้รับการเรียนรู้ในการปฏิบัติ และจัดหาสื่อ นวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการให้ทันสมัยและได้มาตรฐานตามสายงาน
นวัตกรรมที่จะนำมาใช้ในการพัฒนางาน >  นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา   ระบบโปรแกรมต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงาน  , การจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ  ,  แหล่งเรียนรู้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง  , วัสดุอุปกรณ์ , ครุภัณฑ์ที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการใช้สอย , และมีงบประมาณสนับสนุนในการจัดกิจกรรม- โครงการอย่างเพียงพอ  และระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ที่กล่าวมาเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาให้ประสบความสำเร็จได้ระดับหนึ่งแน่นอน

กิจกรรมที่ 3 การใช้โปรมแกรม spss

การใช้โปรแกรม  SPSS
* คริก  sart > All Programs  > SPSS for  Windows  > SPSS 11.5 for Windows
1.เปิดโปรแกรม  SPSS
2.ดูมุมซ้ายหน้า  () data  view  ()  variable view
3.ให้กดหน้า () variable view
4.กำหนดค่าในหน้า variable view
ช่อง   name   พิมพ์  เพศ,a1,a2,a3,a4, / b1,b2,b3,b4, / c1,c2,c3,c4,d1,d2,d3  เรียงจากบนลงล่าง  โดย  a แทนแบบประเมินด้านที่   b  แทนแบบประเมินด้านที่  2    c  แทนแบบประเมินด้านที่  3  และ  แทนแบบประเมินด้านที่  4
ช่องwidth   พิมพ์ตัวเลขความกว้างที่ต้องการ
ช่อง decimals  เลือกจุดทศนิยมที่ต้องการ (0,1,2)
ช่อง value   ใส่ค่า โดยคลิกขวา  แถวเพศ  ในช่อง  value  พิมพ์  1 ชาย    2 หญิง 
ส่วนแถว  a1,a2....,d3  ในช่อง  value  ใส่ 1-น้อยที่สุด   2-น้อย   3-ปานกลาง   4-มาก    5-มากที่สุด
5.หลังจากนั้นกลับมากดหน้า  1  data view   ข้อมูลที่พิมพ์ จากหน้า variable view เพศ,a1,a2,a3,a4,b1,b2,b3,b4,c1,c2,c3,c4,d1,d2,d3 จะมาปรากฎ  บนหัวกระดาษโดยเรียงจากซ้ายไปขวา
6.พิมพ์ข้อมูลใส่ใน  data view โดยกรอกข้อมูลเป็นรายบุคคลที่ละข้อจนครบทุกข้อ  แล้วจึงกรอกข้อมูลคนที่  2,3,4  จนครบ  20  คน  โดย
ช่อง  เพศ  หากผู้ประเมินเป็นเพศชาย  พิมพ์  1    เพศหญิง  พิมพ์  2 
ช่อง  a1  หากผู้ประเมินตอบคำถามอยู่ในระดับปานกลาง  ให้พิมพ์เลข  3
ช่อง  a2  หากผู้ประเมินตอบคำถามอยู่ในระดับมาก  ให้พิมพ์เลข  4
จนถึง  d4  ตามลำดับข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ทั้งหมด (20 คน)
7.การวิเคราะห์ข้อมูล
กดที่  transform  เลือก  compute  variable  -  พิมพ์หัวข้อ taใน target variable
-เลือก sum.ในfunction คลิก function แล้วพิมพ์ sum [a1,a2,a3,a4]/4 คลิก ok
กดที่  transform  เลือก compute  variable  -  พิมพ์หัวข้อ tbใน target variable
-เลือก sum.ในfunction คลิก function แล้วพิมพ์ sum [b1,b2,b3,b4]/4 คลิก ok
กดที่  transform  เลือก  compute  variable  -  พิมพ์หัวข้อ tcใน target variable
-เลือก sum.ในfunction คลิก function แล้วพิมพ์ sum [c1,c2,c3,c4]/4 คลิก ok
กดที่  transform  เลือก  compute variable   -พิมพ์หัวข้อ tdใน target variable
-เลือก sum.ในfunction คลิก function แล้วพิมพ์ sum [d1,d2,d3]/3 คลิก ok
กดที่ analyze  เลือก  descriptive statistic เลือก  frequencies เลือกหัวข้อเพศ,a1,a2,...d3
แล้วคลิก ok แสดงประมวลผล

8.ค่าร้อยละใช้กับ  เพศ  ตำแหน่ง  เงินเดือน  เป็นต้น
9.ค่าเฉลี่ย  ใช้กับ  ข้อคิดเห็นแต่ละข้อ
ผลจาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม
1.  ตอนที่  1  ผู้ตอบแบบสอบถาม  เพศชาย  ร้อยละ  60  เพศหญิง  ร้อยละ  40
2.  ตอนที่  2
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ  ระดับความพึงพอใจ
ด้านวิทยากรผู้ให้บริการ  ระดับความพึงพอใจ
ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก  ระดับความพึงพอใจ
ด้านคุณภาพการให้บริการ  ระดับความพึงพอใจ
**************************************************